เรียนโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน จบมาทำงานอะไร ?

  • ระดับปฏิบัติการ ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่งและคลังสินค้า ฝ่ายควบคุมวัตถุดิบ ฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ฝ่ายการขนส่ง
  • ระดับบริหาร นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน นักวางแผน วัตถุดิบ การผลิต หรือการกระจายสินค้า และนักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ Logistics Analyst, Material Planner, Operations Analyst, Procurement Manager, Supply Chain Analyst, Business Process Analyst, Operations Manager
  • ประกอบธุรกิจส่วนตัว นำเข้าและส่งออก ผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ตัวแทนขนส่งทางบก ทางทะเล หรือทางอากาศ
  • รับราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น
    • กระทรวงการคลัง
    • กระทรวงพาณิชย์
      • กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (สำนักธุรกิจบริการและโลจิสติกส์การค้า) – http://www.ditp.go.th/
      • กรมการค้าภายใน – http://www.dit.go.th/
      • กรมการค้าต่างประเทศ – http://www.dft.go.th/
      • กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (กองส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ) – http://www.dbd.go.th/
      • กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ –  http://www.dtn.go.th/
      • สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (กองนโยบายและยุทธศาสตร์การค้าสินค้าอุตสาหกรรมและธุรกิจบริการ) – http://www.tpso.moc.go.th/
    • กระทรวงอุตสาหกรรม
      • กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม – http://www.dip.go.th/
      • กรมโรงงานอุตสาหกรรม – http://www.diw.go.th/
      • กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (สำนักโลจิสติกส์) – http://www.logistics.go.th/
    • กระทรวงคมนาคม
      • กรมการขนส่งทางบก – http://www.dlt.go.th/
      • กรมเจ้าท่า – http://www.md.go.th/
      • กรมท่าอากาศยาน – http://www.aviation.go.th/
      • สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งจราจร – http://www.otp.go.th/
    • กรมศุลกากร
    • รายชื่อของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องบ้างส่วน
  • และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน เช่น ทำงานด้านสายวิชาการ นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์